วิธีช่วยผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา ให้ทานอาหารได้มากขึ้น อาหารผู้ป่วยมะเร็ง |
อิ่มเร็ว เบื่ออาหาร
วิธีแก้ไข : ทานน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เป็นอาหารที่พลังงานและโปรตีนสูง
เสริมด้วยของเหลวที่พลังงานและโปรตีนสูงในระหว่างมื้อ
กลืนลำบาก
วิธีแก้ไข : ปรับรูปแบบอาหารที่ง่ายต่อการกลืน
เลี่ยงอาหารที่แห้ง เลือกอาหารที่อ่อนนิ่มหรือมีน้ำปน
ใช้หลอดในการช่วยดูด และใช้ช้อนในการช่วยกลืน
ปากแห้ง
วิธีแก้ไข : อมน้ำแข็ง
เลือกอาหารที่อ่อนนิ่ม และมีน้ำปน
ทานอาหารคำละเล็กๆ
ดื่มน้ำและของเหลวบ่อยๆ ในระหว่างวัน
เยื่อบุในช่องปาก/หลอดอาหารอักเสบ
คลื่นไส้ อาเจียน
วิธีแก้ไข : ทานน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เน้นอาหารที่พลังงานและโปรตีนสูง
เลือกทานอาหารแห้ง เช่น แครกเกอร์ ขนมปังแห้ง
จิบน้ำทุก 10-15 นาทีหลังอาเจียน และนอนหัวสูง
น้ำขิง หรือชาร้อนอาจช่วยได้
ท้องเสีย
วิธีแก้ไข : ทานน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
ปรับเปลี่ยนชนิดใยอาหาร (ชนิดละลายน้ำ/ชนิดไม่ละลายน้ำ)
เลี่ยงนมและผลิตภัณฑ์จากนม หากทานแล้วท้องเสีย
เลี่ยงอาหารที่หวานจัด มันจัด
เลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและเครื่องดื่มที่มีแก๊ส
ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ หากท้องเสียมาก
ท้องผูก
วิธีแก้ไข : ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างน้อย 8-10 แก้วต่อวัน
เพิ่มใยอาหาร จากการทานผักและผลไม้
เลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและเครื่องดื่มที่มีแก๊ส
การรับรสเสียไป
วิธีแก้ไข : จัดอาหารที่มีกลิ่นและสี
เสิร์ฟอาหารที่อุณหภูมิอุ่นถึงร้อนจะช่วยให้กลิ่นและรสดีขึ้น
อาหารที่มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาวจะช่วยกระตุ้นการรับรส
เลี่ยงเนื้อแดง ชา กาแฟ
ทนกลิ่นและรสอาหารบางชนิดไม่ได้
วิธีแก้ไข : ผู้ป่วยอาจจะเกลียดหรือแพ้กลิ่น
หรือรสของอาหารที่เคยชอบ
ผู้ป่วยบางคนอาจจะมีการรับรสเค็มและหวานลดลง
ใช้เครื่องเทศช่วยในการปรุงรสอาหาร
เลือกอาหารที่มีสังกะสีสูง
ข้อมูลจาก มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
อิ่มเร็ว เบื่ออาหาร คืออาการหนึ่งของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
อิ่มเร็ว เบื่ออาหาร
วิธีแก้ไขปัญหาอาการอิ่มเร็ว หรือเกิดการรู้สึกเบื่ออาหารของผู้ป่วยหลังการรักษาทางแผนปัจจุบันให้ทานน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เป็นอาหารที่พลังงานและโปรตีนสูงเสริมด้วยของเหลวที่พลังงานและโปรตีนสูงในระหว่างมื้อ เช่น ข้าวกล้อง ปลา ปลาทูน่า แซลมอน หรือกุ้ง ธัญพืช อัลมอนด์ ไข่ ผลิตภัณฑ์จากนม เวย์โปรตีน ก็เป็นอาหารเสริมที่มีโปรตีนสูง
กลืนลำบาก อีกปัญหาของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
กลืนลำบาก
วิธีแก้อาการกลืนลำบาก สามารถทำได้ด้วยการปรับรูปแบบอาหารที่ง่าย สะดวกต่อการกลืน
เลี่ยงอาหารที่แห้ง เลือกอาหารที่อ่อนนิ่มหรือมีน้ำปน ใช้หลอดในการช่วยดูด และใช้ช้อนในการช่วยกลืน
ปากแห้ง อาการที่เกิดขึ้นของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
ปากแห้ง
วิธีแก้อาการปากแห้งด้วยการอมน้ำแข็ง
เลือกอาหารที่อ่อนนิ่ม และมีน้ำปน
ทานอาหารคำละเล็กๆ
ดื่มน้ำและของเหลวบ่อยๆ ในระหว่างวัน
เยื่อบุในช่องปาก/หลอดอาหารอักเสบ
คลื่นไส้ อาเจียน อาการที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
คลื่นไส้ อาเจียน
วิธีแก้ไขอาการคลื่นไส้ อาเจียน ให้ทานน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เน้นอาหารที่พลังงานและโปรตีนสูง
เลือกทานอาหารแห้ง เช่น แครกเกอร์ ขนมปังแห้ง
จิบน้ำทุก 10-15 นาทีหลังอาเจียน และนอนหัวสูง
น้ำขิง หรือชาร้อนอาจช่วยได้
ท้องเสีย อีกอาการของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
ท้องเสีย
วิธีแก้อาการท้องเสีย ให้ทานน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
ปรับเปลี่ยนชนิดใยอาหาร (ชนิดละลายน้ำ/ชนิดไม่ละลายน้ำ)
เลี่ยงนมและผลิตภัณฑ์จากนม หากทานแล้วท้องเสีย
เลี่ยงอาหารที่หวานจัด มันจัด
เลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและเครื่องดื่มที่มีแก๊ส
ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ หากท้องเสียมาก
ท้องผูก อีกอาการของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
ท้องผูก
วิธีแก้อาการท้องผูก ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างน้อย 8-10 แก้วต่อวัน
เพิ่มใยอาหาร จากการทานผักและผลไม้
เลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและเครื่องดื่มที่มีแก๊ส
การรับรสเสียไป อีกอาการหนึ่งของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
การรับรสเสียไป
วิธีแก้อาการที่สูญเสียการรับรส ให้จัดอาหารที่มีกลิ่นและสี
เสิร์ฟอาหารที่อุณหภูมิอุ่นถึงร้อนจะช่วยให้กลิ่นและรสดีขึ้น
อาหารที่มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาวจะช่วยกระตุ้นการรับรส
เลี่ยงเนื้อแดง ชา กาแฟ
ทนกลิ่นและรสอาหารบางชนิดไม่ได้ อาการหนึ่งของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มีผลข้างเคียงจากการรักษา |
ทนกลิ่นและรสอาหารบางชนิดไม่ได้
วิธีแก้ไขอาการที่ผู้ป่วยอาจจะเกลียดหรือแพ้กลิ่น หรือรสของอาหารที่เคยชอบ
ผู้ป่วยบางคนอาจจะมีการรับรสเค็มและหวานลดลง
ใช้เครื่องเทศช่วยในการปรุงรสอาหาร
เลือกอาหารที่มีสังกะสีสูง เช่น อาหารทะเล ปู กุ้งปลาซาร์ดีน แซลมอน ถั่ว ธัญพืช ผักคะน้า ผักกาด ไข่ ข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต ซีเรียล
ข้อมูลจาก มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
👇👇👇
ใครที่มีปัญหาสุขภาพต้องการปรึกษา สอบถามเข้ามาได้เลยนะคะ เรามีทีมงานคุณหมอปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสอบการณ์ดูแลผู้ป่วยมะเร็งมากกว่า 10 ปี ให้คำแนะนำค่ะ
ข้อมูลสาระดีๆ ติดตามเราได้ที่
เฟสบุ้ค Health Me Please
@pollennutrient
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น